บริการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตให้แก่ประชาชนวัยทำงานในสถานประกอบกิจการและองค์กร
"1. จัดกิจกรรมโปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบกิจการและองค์กรซึ่งโปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบการได้ถูกพัฒนาขึ้นตามกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research & Development) เพื่อให้สถานประกอบกิจการใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตแก้พนักงานทั่วไป รวมทั้งการจัดกิจกรรมให้แก่พนักงานที่เป๋นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันตั้งแต่เบื้องต้นไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตในอนาคตได้ ซึ่งสามารถต่อยอดการจัดกิจกรรมจาก “เกณฑ์กายใจเป็นสุข” พัฒนาโดยสำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต ประกอบด้วย 6 Module ดังนี้
Module 1 ฝึกมองโลกในแง่ดี
Module 2 ปรับเปลี่ยนความคิด
Module 3 ความเข้มแข็งทางใจ
Module 4 การสร้างวัฒนธรรมการมี ส่วนร่วม เพื่อนำไปสู่องค์กรสร้างสุข
Module 5 หลักพักใจในการดำเนินชีวิต
Module 6 พึงใจในสิ่งที่มี พอดีในความพอเพียง
2. การประเมินสุขภาพใจ ผ่าน Mental Health Check In บริการตรวจวัดความเครีดยและสุขภาพหลอดเลือด ด้วยเครื่อง Biofeedback และการให้คำปรึกษาสุขภาพจิตเบื้องต้น ดังนี้
2.1 กิจกรรม การประเมินสุขภาพใจด้วยตนเอง ผ่าน Application Mental Health Chack In แบบองค์กรภาครัฐและเอกชน การประเมินประกอบด้วยความเสี่ยง เกี่ยวกับ
1. ประเมินภาวะหมดไฟ (Burnout)
2. ประเมินความเครียด
3. คัดกรองภาวะซึมเศร้า
4. คัดกรองความเสี่ยงฆ่าตัวตาย
5. ประเมินพลังใจ (RQ)
โดย Scan OR Code ทำแบบประเมิน MHCI (ประเมินตนเอง)
2.2 กิจกรรม การตรวจวัดความเครียดและสุขภาพหลอดเลือด ด้วยเครื่อง Biofeedback สามารถตรวจ/ประเมินปฏิกิริยาของร่างกายอันเกิดจากความเครียดในหลายๆระบบ เช่น อัตราการเต้นของหัวใจความดันโลหิต อุณหภูมิผิวหนัง ความชื้นของผิวหนัง คลื่นสมองการตึงตัวของกล้ามเนื้อ ซึ่ง Biofeedback จะทำให้เห็นการเปลี่ยนแปลงสภาวะภายในร่างกาย เพื่อเรียนรู้ที่จะจัดการและควบคุมให้เหมาะสม
การประเมินของเครื่อง biofeedback ได้แก่
1. ตรวจวัดความเครียด (stress test)
2. ประเมินการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ (Assessment of ANS Function)
3. ประเมินสุขภาพหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด ( Predictor of Vascular Health/Peripheral Blood Circulation)
2.3 กิจกรรม การให้คำปรึกษาสุขภาพจิตเบื้องต้น กรณีมีความเสี่ยงสูงจากผลการประเมินสุขภาพใจและ Biofeedback ส่งต่อให้จุดบริการให้คำปรึกษาสุขภาพจิตเบื้องต้นและแนะนำช่องทางการขอความช่วยเหลือทางด้านสุขภาพจิต โดยทีมนักจิตวิทยาคลินิก
3. การส่งเสริมและป้องกันสุขภาพจิต โดยกิจกรรมออกแบบตามความต้องการของสถานประกอบกิจการ องค์กรหรือหน่วยงาน เช่น การจัดการความเครียด การจัดการอารมณ์ ภาวะหมดไฟจากการทำงาน โรคซึมเศร้า การเฝ้าระวังอาการแสดงหรือโรคทางจิตเวชในวัยทำงาน และทักษะการสื่อสารเชิงบวก เป็นต้น
1. จัดกิจกรรมโปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบกิจการและองค์กรซึ่งโปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบการได้ถูกพัฒนาขึ้นตามกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research & Development) เพื่อให้สถานประกอบกิจการใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตแก้พนักงานทั่วไป รวมทั้งการจัดกิจกรรมให้แก่พนักงานที่เป๋นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันตั้งแต่เบื้องต้นไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตในอนาคตได้ ซึ่งสามารถต่อยอดการจัดกิจกรรมจาก “เกณฑ์กายใจเป็นสุข” พัฒนาโดยสำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต ประกอบด้วย 6 Module ดังนี้
Module 1 ฝึกมองโลกในแง่ดี
Module 2 ปรับเปลี่ยนความคิด
Module 3 ความเข้มแข็งทางใจ
Module 4 การสร้างวัฒนธรรมการมี ส่วนร่วม เพื่อนำไปสู่องค์กรสร้างสุข
Module 5 หลักพักใจในการดำเนินชีวิต
Module 6 พึงใจในสิ่งที่มี พอดีในความพอเพียง
2. การประเมินสุขภาพใจ ผ่าน Mental Health Check In บริการตรวจวัดความเครีดยและสุขภาพหลอดเลือด ด้วยเครื่อง Biofeedback และการให้คำปรึกษาสุขภาพจิตเบื้องต้น ดังนี้
2.1 กิจกรรม การประเมินสุขภาพใจด้วยตนเอง ผ่าน Application Mental Health Chack In แบบองค์กรภาครัฐและเอกชน การประเมินประกอบด้วยความเสี่ยง เกี่ยวกับ
1. ประเมินภาวะหมดไฟ (Burnout)
2. ประเมินความเครียด
3. คัดกรองภาวะซึมเศร้า
4. คัดกรองความเสี่ยงฆ่าตัวตาย
5. ประเมินพลังใจ (RQ)
โดย Scan OR Code ทำแบบประเมิน MHCI (ประเมินตนเอง)
2.2 กิจกรรม การตรวจวัดความเครียดและสุขภาพหลอดเลือด ด้วยเครื่อง Biofeedback สามารถตรวจ/ประเมินปฏิกิริยาของร่างกายอันเกิดจากความเครียดในหลายๆระบบ เช่น อัตราการเต้นของหัวใจความดันโลหิต อุณหภูมิผิวหนัง ความชื้นของผิวหนัง คลื่นสมองการตึงตัวของกล้ามเนื้อ ซึ่ง Biofeedback จะทำให้เห็นการเปลี่ยนแปลงสภาวะภายในร่างกาย เพื่อเรียนรู้ที่จะจัดการและควบคุมให้เหมาะสม
การประเมินของเครื่อง biofeedback ได้แก่
1. ตรวจวัดความเครียด (stress test)
2. ประเมินการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ (Assessment of ANS Function)
3. ประเมินสุขภาพหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด ( Predictor of Vascular Health/Peripheral Blood Circulation)
2.3 กิจกรรม การให้คำปรึกษาสุขภาพจิตเบื้องต้น กรณีมีความเสี่ยงสูงจากผลการประเมินสุขภาพใจและ Biofeedback ส่งต่อให้จุดบริการให้คำปรึกษาสุขภาพจิตเบื้องต้นและแนะนำช่องทางการขอความช่วยเหลือทางด้านสุขภาพจิต โดยทีมนักจิตวิทยาคลินิก
3. การส่งเสริมและป้องกันสุขภาพจิต โดยกิจกรรมออกแบบตามความต้องการของสถานประกอบกิจการ องค์กรหรือหน่วยงาน เช่น การจัดการความเครียด การจัดการอารมณ์ ภาวะหมดไฟจากการทำงาน โรคซึมเศร้า การเฝ้าระวังอาการแสดงหรือโรคทางจิตเวชในวัยทำงาน และทักษะการสื่อสารเชิงบวก เป็นต้น
"
ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}
ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากรวันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.last_modified} |
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.created} |
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล | ${cur_meta.mimetype} |
รหัสทรัพยากรข้อมูล | ${cur_meta.id} |
รายละเอียด | ${cur_meta.ori.description} |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_data_collect} |
${cur_meta.ori.resource_data_collect_other} | |
วันที่เริ่มต้นสร้าง | ${cur_meta.ori.resource_created_date} |
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล | cbf44713-0aa7-4a42-ba9c-3609adf1f311 |
---|---|
แท็ค |
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต
การส่งเสริมสุขภาพจิต
ประชาชนวัยทำงาน
สถานประกอบกิจการและองค์กร
|
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล | สาธารณะ |
วันที่นำขึ้นข้อมูลบนระบบ | 15 มีนาคม 2568 |
วันที่สร้าง metadata | 26 กุมภาพันธ์ 2568 |
วันที่ปรับปรุง metadata | 26 กุมภาพันธ์ 2568 |
ประเภทชุดข้อมูล | ข้อมูลระเบียน |
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ | ศูนย์สุขภาพจิตที่ 3 |
อีเมลสำหรับติดต่อ | mhc03@dmh.mail.go.th |
วัตถุประสงค์ | พันธกิจหน่วยงาน |
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล | ตามเวลาจริง |
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ | ไม่มี |
แหล่งที่มา | พันธกิจหน่วยงาน |
รูปแบบการเก็บข้อมูล |
|
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ | ข้อมูลสาธารณะ |
สัญญาอนุญาต | Open Data Common |
URL ข้อมูลเพิ่มเติม | https://mhc3.dmh.go.th/data_catalog_mhc3/68/1/DataSet_03_11.csv |
ภาษาที่ใช้ | ไทย |
วันที่เริ่มต้นสร้าง | 2025-02-24 |
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) | 2025-02-24 |
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง | ไม่แสดง |
ตัวอย่างการใช้ข้อมูล
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570) แก้ไข ครั้งที่ 1/2568
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570) แก้ไข ครั้งที่ 1/2568
แผนการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ฉบับที่ 3
แผนการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ฉบับที่ 3