พื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง
ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง 10 ปี (ปี 2554-2563) จากข้อมูล Tambon Smart Team กรมการปกครอง
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง ตามวิธีการวิเคราะห์ แบบ "แผนผังประเมินความเสี่ยง แบบ 4x4" (Risk Matrix 4x4) จากทฤษฎีการบริหารความเสี่ยง Risk = Likelihood x Impact (ความเสี่ยง = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ x ผลกระทบ) โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจตามโครงการ Tambon Smart Team ซึ่งดำเนินการโดย กรมการปกครอง เก็บข้อมูลระหว่าง ปี 2554- ปี2563 ความเสี่ยงภัยแล้ง ประกอบด้วยข้อมูลที่สำคัญ คือ 1. โอกาสที่จะเกิดภัยแล้งรายหมู่บ้าน พบว่า มี 5 กลุ่มข้อมูล ดังนี้ 1.1 กลุ่มเกิดทุกปีและ มากกว่า 1 ครั้งต่อปี 1.2 กลุ่มเกิด 2 ปีต่อครั้ง 1.3 กลุ่มที่เกิด 3 ปี ต่อครั้ง 1.4 กลุ่มที่เกิด 4-9 ปีต่อครั้ง และ 1.5 กลุ่มที่เกิด 10 ปีต่อครั้งหรือนานกว่า
- ผลกระทบ จำแนกออกเป็น 2 กลุ่มหลักคือ 2.1 ระดับความรุนแรง จำแนกตามผลกระทบด้านปริมาณน้ำในแหล่งน้ำ ประกอบด้วย
- กลุ่มที่มักจะมีปริมาณน้ำในแหล่งน้ำเหลือน้อย - กลุ่มที่มักจะขาดแคลนน้ำ 2.2 ผลกระทบร่วม
- พื้นที่ที่มักจะขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภค - พื้นที่มักจะขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร หลังจากนั้นจึงมาหาความสัมพันธ์ ระหว่าง โอกาสที่จะเกิด และ ผลกระทบ สรุปได้ดังนี้
พื้นที่มีความเสี่ยงสูงมาก = หมูบ้านที่มีโอกาสเกิดสูงมาก และผลกระทบสูงมาก พื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง = หมูบ้านที่มีโอกาสเกิดสูงมาก และผลกระทบสูง, หมูบ้านที่มีโอกาสเกิดสูง และผลกระทบสูงมาก พื้นที่ที่มีความเสี่ยงปานกลาง = หมูบ้านที่มีโอกาสสูงมาก และผลกระทบน้อย, หมูบ้านที่มีโอกาสน้อย และผลกระทบสูง , หมูบ้านที่มีโอกาสปานกลาง และผลกระทบปานกลาง พื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่ำ = หมู่บ้านที่มีโอกาสเกิดต่ำ ผลกระทบต่ำ พื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่ำมาก = หมู่บ้านที่ไม่มีประวัติการเกิดอุทกภัย ความสำคัญ พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งเพื่อนำไปเตรียมการ ในการวางแผน เพื่อลดผลกระทบจากสาธารณภัย เช่นการเตรียมเครื่องจักรกล การให้ลำดับความสำคัญในการแก้ไขปัญหา
Resource Info : ${cur_meta.name}
Download Go to resourceResource last updated date | ${cur_meta.last_modified} |
Resource creation date | ${cur_meta.created} |
Resource format | ${cur_meta.mimetype} |
Resource ID | ${cur_meta.id} |
Description | ${cur_meta.ori.description} |
Accessible Condition | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
Data Collect | ${cur_meta.ori.resource_data_collect} |
${cur_meta.ori.resource_data_collect_other} | |
Created date | ${cur_meta.ori.resource_created_date} |
Last updated date | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
Additional Info
Data Key | fa0da875-339f-4524-acc2-0dae01a741ab |
---|---|
Groups | เมืองและภูมิภาค |
Tags |
ภัยพิบัติ
ภัยแล้ง
แล้ง
|
Visibility | Public |
Dataset publish create date | August 25, 2024 |
Dataset create date | March 19, 2024 |
Maintain date | March 11, 2025 |
Data Type | ข้อมูลระเบียน |
Contact Person | ฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการ |
Contact Email | ddpmksn4600@gmail.com |
Objective |
|
Update Frequency Unit | ปี |
Update Frequency Interval | 1 |
Geo Coverage | หมู่บ้าน |
Data Source | รายงานพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง |
Data Format | CSV |
Data Category | ข้อมูลสาธารณะ |
License | Open Data Common |
Accessible Condition | ไม่มี |
Data Support | หน่วยงานของรัฐ |
Data Collect | ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ |
URL | https://datacenter.disaster.go.th/datacenter/cms?id=8540 |
Data Language | ไทย |
Created date | 2023-05-19 |
Last updated date | 2025-03-11 |
High Value Dataset | No Show |
Showcases
Related
ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพสัตว์
ข้อมูลสัตว์สะเทิ้นน้ำ สะเทิ้นบก ในพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา
รายชื่อโครงการวิจัยที่ดำเนินการในพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
โครงการวิจัยที่ได้ดำเนินการในพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2510 (ปีก่อตั้งสถานีฯ สะแกราช) ได้มีนักวิจัยทั้งชาวไทยและต่างประเทศมาใช้พื้นที่สถานีฯ สะแกราช...